• หน้าหลัก
  • ก้อนขาว STORY
    • ก้อนขาวสตอรี่
    • สื่อสิ่งพิมพ์
  • เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
    • ข้อมูลบริษัท
    • รางวัลแห่งคุณภาพ
    • ธุรกิจน้ำตาล
    • ธุรกิจพลังงาน
    • ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์
  • ความยั่งยืน
    • มาตรฐาน Bonsucro
    • CSR - ความรับผิดชอบต่อสังคม
    • ของเสียเป็นศูนย์
    • วิจัยและพัฒนา
    • ชาวไร่ต้นแบบ
  • ร่วมงานกับเรา

  • ติดต่อเรา

ความยั่งยืน

KI Sugar Group

  • BONSUCRO - มาตรฐานการผลิต
  • CSR - ความรับผิดชอบต่อสังคม
  • ของเสียเป็นศูนย์
  • วิจัยและพัฒนา

  • ชาวไร่ต้นแบบ

ความยั่งยืน

วิจัยและพัฒนา

น้ำตาลคือจุดเริ่มต้นของครอบครัว

เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและ
ความเป็นอยู่ของเกษตรกรชาวไร่อ้อย กลุ่มน้ำตาลเคไอ

จึงมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนา เพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้ดียิ่งขึ้น นำไปสู่กำไรที่มากขึ้นของเกษตรกรชาว
ไร่อ้อย เราได้มีการคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับการจัดการไร่ครบวงจร ตั้งแต่กระบวนเลือกพื้นที่
การเตรียมดิน จนถึงกระบวนการตัดส่งเข้าโรงงานน้ำตาล เรายังเล็งเห็นความสำคัญของการนำองค์ความรู้
ทางวิธีการจากหน่วยงานภาครัฐ มาปรับทดลองและปรับใช้ให้เหมาะสมกับภูมิศาสตร์และสภาพพื้นที่ และ
ตัวเกษตรกร โดยมุ่งหวังที่จะให้เป็นแหล่ง การเรียนรู้สำหรับชาวไร่อ้อย ในการศึกษาวิธีการจัดการไร่อ้อย
อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนต่อไร่อย่างยั่งยืน

งานวิจัย
และพัฒนา
  • งานวิจัยและและพัฒนา
  • การทดลองหาสิ่งเจือปนที่ติดมากับอ้อย (%Trash)
  • การทดสอบอัตราการใช้น้ำกากส่า
  • โครงการ ใช้ปุ๋ยเคมีก่อนปลูก
  • การควบคุมการระบาดของโรคใบขาวอ้อยโดยการใช้ท่อนพันธุ์สะอาดร่วมกับการจัดการธาตุอาหาร
  • การพัฒนาพันธุ์อ้อยปลอดโรค
  • โครงการทดสอบ ขยายผลและถ่ายทอดเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคใบขาวอ้อยโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
  • งานโรคและแมลง
  • โครงการเพาะเลี้ยงแตนเบียนไตรโคแกรมม่า (Trichogramma spp.X)
  • โครงการเพาะเลี้ยงแมลงหางหนีบ (Proreus simulans Stallen)
  • โครงการเพาะขยายเชื้อราบิวเวอเรีย (Beauveria bassiana)
  • โครงการเพาะขยายเชื้อราเมธาไรเซียม (Metarhizium anisopliae)
  • งานแปลงพันธุ์
  • จัดทำแปลงพันธุ์ โดยมีการแบ่งการปลูกพันธุ์ตามลักษณะพื้นที่ มีพันธุ์อ้อยสำรองแต่ละปีไม่ต่ำกว่า 10,000 ตัน/ปี
  • แปลงพันธุ์บ้านวังม่วง
    มีเนื้อที่ประมาณ 1,300 ไร่
    แปลงพันธุ์บ้านตะบอง
    มีเนื้อที่ประมาณ 700 ไร่
    แปลงพันธุ์บ้านหนองไผ่
    มีเนื้อที่ประมาณ 700 ไร่
  • พัฒนาดินและแหล่งน้ำ
  • ก่อตั้งแลปดินเพื่อบริการวิเคราะห์ดิน ร่วมกับสมาคมชาวไร่อ้อยสุรนารี
  • จัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรชาวไร่อ้อย (กำลังดำเนินการ)
  • - การทำสารปรับปรุงดิน โดยการนำของเหลือจากกระบวนการผลิตน้ำตาล มาผลผลิตสารปรับปรุงดิน
  • - การส่งเสริมให้ความรู้เรื่อง แหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูกอ้อย เช่น เจาะบาดาล ขุดสระ ระบบน้ำหยด เป็นต้น
  • - การส่งเสริมอุปกรณ์เพื่อเพิ่มผลผลิต เช่น อุปกรณ์น้ำหยด เป็นต้น
  • พัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร
  • พัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร
  • อุปกรณ์ การทำไร่อ้อย
  • บริการซ่อมแซม จัดหาอะไหล่
  • จัดอบรม วิธีการใช้เครื่องมือเครื่องจักรกลเกษตรในไร่อ้อย
โครงการ
ความร่วมมือกับ
หน่วยงานราชการ

ปี 2556-2557

ปี 2556-2559

ปี 2557-2559

ปี 2557-2558

ปี 2555-2559

ปี 2555-2557

  • จัดทำแปลงทดสอบพันธุ์อ้อยปลายฝน (ข้ามแล้ง) กับสถาบันวิทยาการ สวทช. (NSTDA Academy)โดยมี
    รศ.ดร ประสิทธิ์ ใจศิล เป็นที่ปรึกษา
  • เข้าร่วมโครงการพัฒนาและขยายอ้อยพันธุ์ดี ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สนับสนุนการดำเนินงานโดย สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรมทำการทดสอบพันธุ์อ้อย
  • ร่วมกับสถานีทดลองขยายพันธุ์อ้อยนครราชสีมา ขยายพันธุ์อ้อยและปลูกทดลอง
  • ร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดิน นครราชสีมา เพื่อทำแปลงทดลองและวิเคราะห์ดินในการปลูกอ้อย
  • ร่วมกับศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา,ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมาโนนสูง จัดตั้งโครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการป้องกันกำจัด โรคใบขาวอ้อย เนื่องจากปัญหาการระบาดของโรคใบขาวในพื้นที่มากกว่า 46,000 ไร่

  • ร่วมกับศูนย์พัฒนาการเกษตรโนนสูง จัดทำโครงการแจกพันธุ์อ้อยเนื้อเยื่อปลอดโรคใบขาวให้แก่เกษตรกรชาวไร่อ้อย
Top